พุทธวังสะ-จริยาปิฎก



พุทธวงศ์
๑ ทีปังกรพุทธวงศ์  ๒. โกณฑัญญพุทธวงศ์  ๓. มังคลพุทธวงศ์
๔. สุมนพุทธวงศ์   ๕. เรวตพุทธวงศ์  ๖. โสภิตพุทธวงศ์
๗. อโนมทัสสีพุทธวงศ์  ๘. ปทุมพุทธวงศ์  ๙. นารทพุทธวงศ์
๑๐. ปทุมุตรพุทธวงศ์  ๑๑. สุเมธพุทธวงศ์  ๑๒. สุชาตพุทธวงศ์
๑๓. ปิยทัสสีพุทธวงศ์   ๑๔. อัตถทัสสีพุทธวงศ์  ๑๕. ธรรมทัสสีพุทธวงศ์
๑๖. สิทธัตถพุทธวงศ์  ๑๗. ติสสพุทธวงศ์  ๑๘. ปุสสพุทธวงศ์
๑๙. วิปัสสีพุทธวงศ์   ๒๐. สิขีพุทธวงศ์  ๒๑. เวสสภูพุทธวงศ์
๒๒. กุกกุสันธพุทธวงศ์  ๒๓. โกนาคมนพุทธวงศ์  ๒๔. กัสสปพุทธวงศ์
๒๕. โคตมพุทธวงศ์
การบำเพ็ญทานบารมี
๑ อกิตติจริยา  ๒ สังขพราหมณจริยา  ๓ กุรุธรรมจริยา
๔ มหาสุทัสนจริยา  ๕ มหาโควินทจริยา ๖ เนมิราชจริยา
๗ จันทกุมารจริยา  ๘ สิวิราชจริยา ๙ เวสสันตรจริยา
๑๐ สสปัณฑิตจริยา
 อกิตติดาบส สังขพราหมณ์ พระเจ้าธนญชัยกุรุราช พระเจ้ามหา
                          สุทัสนจักรพรรดิราช มหาโควินทพราหมณ์ พระเจ้าเนมิราช จันท-
                          กุมารพระเจ้าสีวิราช เวสสันดร และสสบัณฑิตผู้ให้ทานอันประเสริฐ
                          ในกาลนั้น เป็นเรานี้เอง ทานเหล่านี้เป็นบริวารแห่งทาน เป็นทาน
                          บารมี เราได้ให้ชีวิตเป็นทานแก่ยาจกจึงยังบารมีนี้ให้เต็มได้ เราเห็น
                          ยาจกเข้ามาเพื่อขอแล้ว ได้สละตนของตนให้ ความเสมอด้วยทาน
                          ของเราไม่มี นี้เป็นทานบารมีของเรา ฉะนี้แล.
การบำเพ็ญสีลบารมี
          ๑. สีลวจริยา       ๒. ภูริทัตตจริยา             ๓. จัมเปยยกจริยา
             ๔. จูฬโพธิจริยา ๕. มหิสจริยา                 ๖. รุรุมิคจริยา
             ๗. มาตังคจริยา ๘. ธรรมเทวปุตตจริยา   ๙. ชยทิสจริยา
             ๑๐. สังขปาลจริยา จริยาทั้งหมดนี้เป็นกำลังของศีล เป็นบริขารของศีล เราได้สละชีวิต
ตามรักษาศีล เราผู้เป็นสังขปาลนาคราช ได้มอบชีวิตให้แก่คนใดคนหนึ่ง แม้ตลอดกาลทุกเมื่อ
เหตุนั้น จริยานั้นจึงเป็นศีลบารมี ฉะนี้แล.
การบำเพ็ญเนกขัมมบารมี
                          ๑. ยุธัญชยจริยา ๒. โสมนัสสจริยา ๓. อโยฆรจริยา  
                          ๔. ภิงสจริยา ๕. โสณนันทปัณฑิตจริยา ๖. มูคผักขจริยา
                          ๗. กปีลราชจริยา ๘. สัจจสวหยปัณฑิตจริยา ๙. วัฏฏกโปตกจริยา
                          ๑๐. มัจฉราชจริยา ๑๑. กัณหทีปายนจริยา ๑๒. สุตโสมจริยา
                          ๑๓. สุวรรณสามจริยา ๑๔. เอกราชจริยา ๑๕. มหาโลมหังสจริยา
เป็นอุเบกขาบารมีดังนี้
                          พระผู้มีพระภาคผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ตรัสแล้ว เราได้เสวยทุกข์
                          และสมบัติมากมายหลายอย่าง ในภพน้อยภพใหญ่ ตามนัยที่กล่าวแล้ว
                          อย่างนี้ แล้วจึงได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด เราได้ให้ทานอันควร
                          ให้ บำเพ็ญศีลโดยหาเศษมิได้ถึงเนกขัมมบารมีแล้ว จึงบรรลุสัม-
                          โพธิญาณอันสูงสุดเราสอบถามบัณฑิตทั้งหลายทำความเพียรอย่าง
                          อุกฤษฏ์อย่างถึงขันติบารมีแล้วจึงบรรลุโพธิญาณอันสูงสุด เรากระทำ
                          อธิษฐานอย่างมั่น ตามรักษาสัจจวาจา ถึงเมตตาบารมีแล้ว จึงบรรลุ
                          สัมโพธิญาณอันสูงสุด เราเป็นผู้มีจิตเสมอในลาภและความเสื่อม
                          ลาภ ในยศและความเสื่อมยศ ในความนับถือและการดูหมิ่นทั้งปวง
                          แล้ว จึงบรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด ท่านทั้งหลายจงเห็นความ
                          เกียจคร้านโดยความเป็นภัย และเห็นการปรารภความเพียรโดยเป็น
                          ทางเกษมแล้วจงปรารภความเพียรเถิด นี้เป็นคำสั่งสอนของ
                          พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็น
                          ภัย และเห็นความไม่วิวาทโดยเป็นทางเกษมแล้วจงกล่าววาจาอ่อน
                          หวานอันสมัครสมานกันเถิด นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
                          ทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงเห็นความประมาทโดยความเป็นภัย และ
                          เห็นความไม่ประมาทโดยเป็นทางเกษม แล้วจงเจริญมรรคอันประ-
                          กอบด้วยองค์ ๘ ประการเถิด นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
                          ทั้งหลายฯ
             ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงยกย่องบุรพจรรยาของพระองค์ จึงได้ตรัสธรรมบรร-
*ยายชื่อพุทธาปทานีย์ ด้วยประการฉะนี้แล.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น